วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7

วันที่ 20 เดือน กันยายน ปี 2559 เวลาเรียน 08:30 - 12:30น.


ความรู้ที่ได้รับ

1.ทบทวนเรื่องอากาศและกรอบมาตรฐาน+ของเล่น
2.การไหลของน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
3.ระดับของน้ำ
4.ตัดกระดาษเป็นรูปดอกไม้
-ทดลองการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้
-การเปลี่ยนแปลงของดอกไม้เกิดจากการที่น้ำซึมเข้าไปในเนื้อกระดาษทำให้กระดาษค่อยๆบานออก


1.ทบทวนเรื่องอากาศและกรอบมาตรฐาน+ของเล่น



ทบทวนการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้สอนในหน่วยต่างๆได้อย่างเหมาะสม


กิจกรรมวาดรูปภาพสามมิติ



2.การไหลของน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำเป็นหลักการในการนำมาทำน้ำพุ
      การไหลของลำน้ำ หรือ ธารน้ำไหล ได้แก่ การไหลแบบเป็นชั้น (Laminar Flows) เป็นลักษณะการไหลที่เรียบ มีความเร็วในการไหลต่ำ ลักษณะการไหล ชั้นบนสุดของผิวน้ำเคลื่อนที่เหลื่อมไปข้างหน้า เหนือชั้นที่ถัดลงไป มักพบลักษณะของการไหลเช่นนี้ในบริเวณน้ำที่มีระดับความลึกมาก การไหลดังกล่าวมีการพัดพาตะกอนไปได้น้อยมาก เช่น การไหลของน้ำใต้ผิวดิน การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flows) เป็นลักษณะการไหลของน้ำทั่วไป ภายใต้สภาพท้องน้ำที่ไม่ราบเรียบ มีความขรุขระมาก การไหลจึงไม่สม่ำเสมอ มีการพัดพาตะกอนไปตามกระแสน้ำได้มาก บางกรณีเกิดกระแสน้ำวน อันเนื่องมาจากสภาพความขรุขระของท้องน้ำ การไหลแบบปั่นป่วนลำน้ำจะไหลเร็วและมีการเปลี่ยนทิศทางได้ง่าย มีผลต่อการกัดเซาะตลิ่งสองฝั่งน้ำเป็นอย่างมาก







3.ระดับของน้ำ




4.กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้


ขั้นตอนที่1



 ขั้นตอนที่ 2


ขั้นตอนที่ 3


ขั้นตอนที่ 4 ตัดกระดาษออกเป็นรูปหังใจดังภาพ


    
ขั้นตอนที่ 5 ระบายสีตรงกลางดอก

  
ขั้นตอนที่ 6 พับกลีบดอกไม้ลง



ขั้นตอนที่ 7 นำดอกไม้ลงไปวางบนผิวน้ำแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้


การจัดการเรียนการสอน
- แบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและโต้ตอบกันในชั้นเรียน
- แบบให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในชั้นเรียน



คำศัพท์
1.Water flow = การไหลของน้ำ
2.water level=ระดับน้ำ
3.change=การเปลี่ยนแปลง
4.seepage=การซึม
5.the fountain=น้ำพุ

การนำไปประยุกต์ใช้
- การทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัตถุสิ่งของ


การประเมิน

- วันนี้ได้เรียนรู้เรื่องน้ำ การไหลของน้ำ การวัดระดับของน้ำ และได้ลงมือทดลอง ทำให้เข้าใจถึงหลักการในการทำน้ำพุขึ้นมา และการบานออกของดอกไม้กระดาษ





วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

วันที่ 13 เดือน กันยายน ปี 2559 เวลาเรียน 08:30 - 12:30น.




ความรู้ที่ได้รับ

1.ของเล่น
รถหลอดด้าย
                                   
 
วัสดุอุปกรณ์
1. หลอดด้าย
2. เทียนไข
3. หนังยางรัดของ
4. ไม้ตะเกียบ


ขั้นตอนการทำ  รถหลอดด้าย
1. ตัดเทียนไขให้มีขนาดสั้นกว่าหลอดด้ายเล็กน้อยดังรูป
2. ใช้คัตเตอร์เซาะเทียนไขให้เป็นร่องดังรูป                                                                                                       

                   
                      



3. หักไม้ตะเกียบให้มีขนาดเท่ากับเทียนไขแล้วนำหนังยางมาร้อยกับไม้สั้นเอาไว้ 
4. คล้องหนังยางเข้ากับไม้สั้น จากนั้นนำหนังยางสอดเข้าไปในรูของหลอดด้าย                                          
5. นำปลายหนังยางที่สอดออกจากรูหลอดด้ายมาคล้องกับเทียนไขดังรูป                    
 6. ใช้ไม้ตะเกียบสอดเข้าที่ร่องของเทียนไขที่เซาะไว้                              
 วิธีเล่น
1. มือหนึ่งจับที่หลอดด้าย อีกมือหนึ่งหมุนไม้ตามเข็มนาฬิกา ให้มากขึ้นเรื่อย ยางที่ถูกขัดอยู่จะม้วนเป็นเกลียว
2. เมื่อจับวางลงบนพื้นที่เรียบ ยางจะคลายเกลียวทำให้ล้อของหลอดด้ายหมุนเคลื่อนที่ไปได้ข้างหน้า
คณิตศาสตร์
1.การวัดขนาดของเทียนไขและไม้
2.การหมุนไม้ตามเข็มนาฬิกา
เทคโนโลยี
-ขั้นตอนการทำ
ภาษา
-การสื่อสารกัน
-การอธิบายขั้นตอนการทำชิ้นงาน
วิทยาศาสตร์
รถหลอดด้าย มีโครงสร้างและกลไก การเคลื่อนที่ของรถหลอดด้ายนั้น มาจากการคลายเกลียวของยางวง ยางวงเป็นวัสดุที่มีสมบัติยืดหยุ่น เพราะเมื่อดึงเส้นยาง แล้วยางจะยืดตัวออกไปได้แต่เมื่อหยุดออกแรงดึง ปรากฏว่าเส้นยางกลับคืนสภาพเดิม ซึ่งจะเปลี่ยนจากพลังงานศักย์ยืดหยุ่นเป็นพลังงานจลน์รูปแบบการเคลื่อนที่ของรถหลอดด้ายจะขึ้นอยู่กับทิศทางของการหมุนไม้ ขนาดของยางวง จํานวนยางวง แรงเสียดทานของล้อกับไม้หมุนและจํานวนรอบในการหมุนไม้หมุนจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของรถหลอดด้าย



การจัดการเรียนการสอน
 1.ทบทวนการไปดูงานของพี่ปี5 
- น้ำเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง




























คำศัพท์
1.
2.
3.
4.
5.



การนำไปประยุกต์ใช้





การประเมิน

วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

วันที่ 6 เดือน กันยายน ปี 2559 เวลา 08:30 - 12:30น.




ความรู้ที่ได้รับ

ลม หมายถึง อากาศที่เคลื่อนที่ไปในทิศทางในแนวราบ เกิดจากการแทนที่ของอากาศ เนื่องจากอากาศในบริเวณที่ร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ในขณะที่อากาศบริเวณใกล้เคียงที่อุณหภูมิต่ำกว่าจะเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่ เมื่อมีการเคลื่อนไหวของอากาศที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันของความกดอากาศ อากาศบริเวณที่มีความกออากาศสูงจะเคลื่อนที่เข้ามายังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ มวลอากาศที่เคลื่อนที่เราเรียกว่า "ลม" จึงกล่าวได้ว่า ลม เกิดจากการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำนั่นเอง

1.อากาศต้องการพื้นที่อยู่
ยัดกระดาษทิชชูลงไปที่ก้นแก้ว แล้วคว่ำแก้วลงไปตรงๆในนำ้ จะเห็นว่าอากาศดันไว้ไม่ยอมให้นำ้เข้าไป แต่นำ้ก็ดันอากาศจนอัดแน่นขึ้นยุบเข้าไปด้านในแก้วได้เล็กน้อย แต่นำ้ก็ไม่สามารถทำให้กระดาษเปียกได้



2.อาการมีน้ำหนัก
อากาศหนักหรือเบาจะขึ้นอยู่กับความร้อน
การทดลอง อากาศก็มีน้ำหนัก
1. จัดการทดลองตามรูป

เป่าลูกโป่งให้ใหญ่เท่าๆ กัน แล้วจัดให้ได้สมดุล


2. เจาะลูกโป่งลูกใดลูกหนึ่ง

จากภาพเราจะเห็นได้ว่าลูกโป่งที่ไม่ถูกเจาะจะมีน้ำหนักมากกว่างลูกโป่งที่ถูกเจาะจึงทำให้รู้ว่าอากาศนั้นมีน้ำหนัก

3.อากาศมีความร้อนกับความเย็น
- อากาศร้อน จะทำให้ลอยตัวสูงได้
เช่น โคมลอย ใช้ความร้อนทำให้สามารถลอยตัวขึ้นไปบนฟ้าได้



- อากาศเย็น จะทำให้ลอยตัวต่ำ

4.การเคลื่อนที่ของอากศร้อนและอากาศเย็น



- อากาศร้อนจากแผ่นดินลอยขึ้นท้องฟ้า
- อากาศเย็นจากทะเลลอยต่ำมาที่แผ่นดินทำให้เรารู้สึกเย็นสบาย
จึงทำให้พื้นโลกมีลมพัดตลอดเวลา

5. แรงดันอากาศ หมายถึง แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุในทุกทิศทาง อากาศมีแรงกดหรือแรงดัน 
อนุภาคของอากาศเคลื่อนที่ไปมาได้อย่างอิสระ และตลอดเวลาในทุกทิศทาง โดยจะเคลื่อนที่ชนกันเองและชนกับวัตถุต่าง ๆ ที่ล้อมรอบ ทำให้เกิดแรงดันรอบทิศทาง เรียกว่า แรงดันอากาศ

- อากาศเย็นแรงดันอากาสจะสูงมาก
- อากาศร้อนแรงดันอากาศจะต่ำมาก
- การเคลื่อนที่ แรงดันอากาศจะมีน้อย
- การอยู่กับที่แรงดันอากาศจะมีมาก
6.แรงต้านของอากาศ หมายถึง แรงอุปสรรคอากาศของวัตถุที่เคลื่อนย้ายวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยแรงยืดหยุ่นที่สร้างขึ้นโดยอากาศ รถยนต์เรือหัวรถจักรรถไฟ ฯลฯ ในการดำเนินการทางอากาศจะถูกบีบอัดโดยด้านหน้าเสียดทานพื้นผิวด้านและอากาศและกลายเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ที่อยู่เบื้องหลังการสิ้นสูญญากาศต้านทานที่เกิดจากผลกระทบเหล่านี้ ที่ทำงานอยู่ในลม แต่ลมจะถูกรวม ในชีวิตจริงฤดูใบไม้ร่วงรับผลกระทบจากอิทธิพลของแรงต้านของอากาศความเร็วพื้นที่รายชื่อผู้ติดต่อความหนาแน่นของอากาศ ฯลฯ จะมีผลต่อขนาดของแรงต้านของอากาศ

การจัดการเรียนการสอน
- ดูวีดีโอ สนุกกับอากาศมหัศจรรย์



คำศัพท์
1.Air resistance = แรงต้านอากาศ
2.Air pressure = ความกดอากาศ
3.hot = ร้อน
4.weight = น้ำหนัก
5.land = พื้นแผ่นดิน

การนำไปประยุกต์ใช้




การประเมิน



วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันที่30 เดือน สิงหาคม ปี 2559 เวลาเรียน 8:30 - 12:30น.


ความรู้ที่ได้รับ

1.ทบทวนฝึกคัดพยัญชนะไทยทั้ง 44 ตัวครั้งที่ 1







2.อธิบายแนวการสอน
3.เข้าสู่บทเรียนเรียน
พัฒนาการคือ ความแตกต่างของแต่ละช่วงอายุ

4.จัดกลุ่มทำกิจกรรม เรียนรู้เรื่องอากาศ

อุปกรณ์
- คลิปลวดหนีบกระดาษ 1 ตัว
- กระดาษ 1 แผ่น


 กลุ่มดิฉันพับนก


ขั้นตอนการพับนก


- นกทำให้รู้ว่ามีอากาศและอากาศมีตัวตน อากาสต้องการที่อยู่


ลม หมายถึง อากาศที่เคลื่อนที่ไปในทิศทางในแนวราบ เกิดจากการแทนที่ของอากาศ เนื่องจากอากาศในบริเวณที่ร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ในขณะที่อากาศบริเวณใกล้เคียงที่อุณหภูมิต่ำกว่าจะเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่ เมื่อมีการเคลื่อนไหวของอากาศที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันของความกดอากาศ อากาศบริเวณที่มีความกออากาศสูงจะเคลื่อนที่เข้ามายังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ มวลอากาศที่เคลื่อนที่เราเรียกว่า "ลม" จึงกล่าวได้ว่า ลม เกิดจากการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำนั่นเอง

อากาศ คือ  ส่วนผสมของก๊าซต่าง ๆ  และไอน้ำซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่  ก๊าซไนโตรเจน และก๊าซออกซิเจน  นอกนั้นเป็นก๊าซอื่น ๆ  ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนน้อย  อากาศมีอยู่รอบ ๆ  ตัวเราทุกหนทุกแห่ง  ทั้งบนยอดสูงสุดของภูเขาและในที่จอดรถใต้ดิน  อากาศมีอยู่ในบ้าน  มีอยู่ในโรงเรียนและในรถยนต์  อากาศไม่มีสี  ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น


ทักษะ

- อากาศต้องการที่อยู่เพราะมีตัวตน

- จะรู้ว่าได้อย่างไร เมื่อเราเป่าลูกโป่ง เราจึงรู้ว่ามีอากาศเพราะลูกโป่งโตขึ้น

- เมื่อใดที่อากาศเคลื่อนที่จะเรียกว่า "ลม"

การจัดการเรียนการสอน
- ครูให้นักศึกษาได้แสดงความเห็นโต้ตอบกันในชั้นเรียน
 - สนุกและน่าเรียนเพราะได้ความรู้เรื่องของอากาศว่าเมื่อใดที่อากาศเคลื่อนที่จะเรียกว่า ลม


ศัพท์
1. brain = สมอง
2.Sense = ความรู้สึก
3.wind = ลม
4.Air = อากาศ
5.model = ตัวแบบ



การนำไปประยุกต์ใช้

- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องของอากาศเช่น กิจกรรมเครื่องบินกระดาษ

การประเมิน
- การเรียนการสอนของอาจารย์สนุกทำให้ได้รับความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ
- บรรยากาศในชั้นเรียนดีเหมาะกับการเรียนรู้